วิตามินบี มีหลากหลายรูปแบบ ซึ่งได้แก่ วิตามินบี1 วิตามินบี2 วิตามินบี6 วิตามินบี12 ไนอาซิน (niacin) กรดโฟลิก (folic acid) ไบโอติน (biotin) และกรดแพนโทเทนิก (pantothenic acid) วิตามินบีมีบทบาทสำคัญในกระบวนการเผาผลาญ ซึ่งช่วยสร้างพลังงาน และปลดปล่อยพลังงานเมื่อร่างกายต้องการใช้ นอกจากนี้ยังเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับการสร้างเซลล์เม็ดเลือดแดง ซึ่งช่วยลำเลียงออกซิเจนไปทั่วร่างกาย วิตามินในกลุ่มนี้มีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งสำหรับการเจริญเติบโต และพัฒนาการทางทั้งร่างกายและจิตใจของเด็ก ฉะนั้น จึงไม่ควรให้ลูกของคุณ ขาดวิตามินบี โดยเด็ดขาด! slotxo วิตามินบี1 หรือ ไทอามีน (Thiamine)วิตามินบี1 มีหน้าที่ในการสร้างพลังงาน ช่วยเปลี่ยนน้ำตาลและคาร์โบไฮเดรตประเภทอื่นๆ ให้เป็นพลังงาน อีกทั้งยังช่วยป้องกันระบบประสาทจากความเสียหาย หรือภาวะเสื่อมสภาพใดๆ วิตามินบี1 มีประโยชน์ในการสื่อสารจากระบบประสาทไปยังอวัยวะต่างๆ…
Day: March 16, 2021
slotxo วิตามินบี 12 เป็นวิตามินชนิดละลายน้ำ ซึ่งทำหน้าที่ในการสร้างและรักษาภาวะในร่างกาย เป็นวิตามินที่จำเป็นต่อระบบประสาท การสร้างเซลล์เม็ดเลือด การสังเคราะห์พลังงาน และกิจกรรมทางชีวเคมีพื้นฐานอื่นๆ มาทำความรู้จักกับวิตามินชนิดนี้ เพื่อดูว่าอะไระเกิดขึ้นกับเด็กๆ ได้ ถ้าได้รับ วิตามินบี 12 ไม่เพียงพอ ประโยชน์ของวิตามินบี 12วิตามินบี 12 ช่วยการทำงานของไมอีลิน (myelin) ซึ่งสารคล้ายไขมันทำหน้าที่เป็นเยื่อหุ้มเซลล์สมอง ช่วยปกป้องระบบประสาท และกระตุ้นการสื่อสารระหว่างสมองและอวัยวะส่วนอื่นๆ ของร่างกาย เช่น มือและเท้า xoslot เมื่อมีวิตามินบี 12 ในปริมาณที่ต่ำกว่าปกติ เด็กอาจมีความเสี่ยงที่จะเป็นโรคออทิซึม (autism) วิตามินบี 12 ยังเป็นสารอาหารที่สำคัญในกระบวนการผลิตเซลล์เม็ดเลือดแดง ดังนั้น หากขาดวิตามินชนิดนี้ เด็กอาจเป็นโรคโลหิตจางได้ วิตามินบี…
slotxo สุขภาพร่างกายของผู้เป็นแม่นั้นส่งผลสำคัญโดยตรงต่อลูก เพราะหลังคลอดคุณแม่จะต้องให้นมลูกด้วยตัวเอง แต่หากร่างกายเกิดความบกพร่องหรือเกิดอาการป่วยใดๆ ก็จะทำให้ลูกไม่สามารถรับสารอาหารจากน้ำนมได้อย่างเต็มที่ เช่นเดียวกับคุณแม่ที่ได้รับยาหรือสารบางชนิด ก็จะไม่สามารถให้นมลูกได้ด้วยเช่นกัน วันนี้เรามาดูกันดีกว่าว่า แม่ที่ได้รับยาหรือสารชนิดไหนบ้าง ที่ไม่สามารถให้นมลูกโดยตรงได้ โดยแบ่งออกเป็น 5 ข้อใหญ่ๆ ดังนี้ 1.คุณแม่ที่ได้รับยาเคมีบำบัดคุณแม่ที่ป่วยเป็นมะเร็งและกำลังรักษาด้วยวิธีการใช้ยาเคมีบำบัดนั้น จะต้องหลีกเลี่ยงการให้นมลูกโดยตรง เพราะคุณอาจจะได้รับผลข้างเคียงจากยาเคมีบำบัดจนถึงขั้นไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ ส่งผลให้ร่างกายไม่สามารถผลิตน้ำนมได้ตามต้องการ อีกทั้งยาเคมีบำบัดบางตัวอาจจะส่งผลกระทบต่อสารอาหารในน้ำนม จึงควรงดให้นมในช่วงได้รับยาดังกล่าว xoslot 2.คุณแม่ที่ได้รับสารกัมมันตรังสีคุณแม่ที่ป่วยและต้องได้รับการรักษาด้วยสารกัมมันตรังสี เป็นอีกหนึ่งกลุ่มที่ควรหลีกเลี่ยงการให้นมลูก เพราะน้ำนมที่ไหลออกมานั้น อาจจะมีสารปนเปื้อนซึ่งจะไหลออกมาจากทางน้ำนมและส่งผลกระทบต่อตัวลูกได้ 3.คุณแม่ที่ใช้ยาเสพติดคุณแม่ที่ใช้สารเสพติดที่มีส่วนประกอบของแอมเฟตามีน ซึ่งอยู่ในยาเสพติดประเภทโคเคน และเฮโรอีน ไม่ควรให้นมลูกด้วยตัวเอง เนื่องจากสารเสพติดต่างๆ เมื่อได้รับเข้าไปในปริมาณมากจะถ่ายทอดออกมาทางน้ำนมและส่งผลให้ลูกที่กินน้ำนมนั้น มีพฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม เช่น หงุดหงิดง่าย อารมณ์แปรปรวน หรือร้องไห้บ่อย ไม่สามารถหลับได้สนิท เครดิตฟรี 4.คุณแม่ที่ได้รับรังสีไอโอดีน-131รังสีไอโอดีน-131 หรือน้ำแร่รังสี…
ช่วงนี้ประเทศไทยฝนตกชุก อากาศชื้นแฉะ ทำให้ต้องระวังไข้หวัดใหญ่ที่มักระบาดในช่วงปลายฝนต้นหนาวแบบนี้ โดยเฉพาะในเด็กเล็กที่มีโอกาสติดเชื้อไข้หวัดใหญ่ได้ง่ายกว่าผู้ใหญ่ คุณพ่อคุณแม่ทั้งหลายจึงต้องคอยดูแลลูกน้อยอย่างใกล้ชิด ซึ่งนอกจากไทยแล้ว ที่ญี่ปุ่นก็ให้ความสำคัญกับการป้องกันไข้หวัดใหญ่ในเด็กมากเช่นกัน มารู้จักไข้หวัดใหญ่ กับวิธีป้องกันและรักษาในเด็กที่หมอญี่ปุ่นแนะนำกันนะคะ slotxo ไข้หวัดใหญ่ไข้หวัดใหญ่ เกิดจากการติดเชื้อไวรัสอินฟลูเอนซา (Influenza) ในไทยพบได้ทุกฤดูกาล แต่มักระบาดในช่วงฤดูฝน แม้ไข้หวัดใหญ่จะเป็นเชื้อที่พบมานานแล้ว แต่เชื้อโรคมีการเปลี่ยนแปลงพันธุกรรมได้ตลอดเวลา ทำให้คนที่ป่วยเป็นไข้หวัดใหญ่ไปแล้วสามารถป่วยซ้ำได้อีก หรือแม้เคยฉีดวัคซีนป้องกันไปแล้ว หากจะป้องกันไวรัสไข้หวัดใหญ่ในปีต่อไปก็ต้องฉีดอีกครั้ง อาการของไข้หวัดใหญ่ไข้หวัดใหญ่ติดเชื้อผ่านการไอจามรดกันโดยตรง และทางการสัมผัสน้ำมูกหรือเสมหะ ลักษณะอาการคล้ายคลึงกับไข้หวัดทั่วไป แต่นอกเหนือจากอาการร่วม เช่น มีไข้ มีน้ำมูก คัดจมูก เจ็บคอ และไอแล้ว ผู้ที่ป่วยเป็นไข้หวัดใหญ่โดยเฉพาะในเด็กจะมีไข้สูงลอยเกินกว่า 39-40 องศาเซลเซียสติดต่อกัน 3-4 วัน และอาจมีอาการหนาวสั่นสะท้านร่วมด้วย ในเด็กโตและผู้ใหญ่มักมีอาการปวดศีรษะ ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ อ่อนเพลีย และเบื่ออาหาร…
slotxo เนื่องจากโซเดียมที่มีปริมาณมากเกินไปในร่างกาย ร่างกายจึงต้องมีการรักษาสมดุลด้วยการดูดน้ำกลับมากขึ้น ทำให้ร่างกายมีความดันในเลือดสูง หากเกิดภาวะเช่นนี้ในร่างกายเป็นเวลานานอาจส่งผลร้ายแรงตามมาได้ เช่น เกิดภาวะความดันโลหิตสูง โรคไต ภาวะหัวใจขาดเลือด หรือมีความเสี่ยงที่อาจจะเกิดหลอดเลือดสมองตีบแตกได้ โดยเฉพาะในคุณแม่ตั้งครรภ์ นับว่าเป็นอันตรายอย่างมากทีเดียว ดังนั้น จึงควรหลีกเลี่ยงอาหารที่มีโซเดียมสูงดังต่อไปนี้ .เนื้อสัตว์แปรรูป เนื้อสัตว์ที่ผ่านกระบวนการแปรรูปเพื่อให้สามารถเก็บไว้ได้นานขึ้น ได้แก่ ไส้กรอก เนื้อสัตว์แดดเดียว แหนม หมู/ไก่ยอ เบคอน และแฮม เป็นต้น เนื่องจากในกระบวนการผลิตนิยมใช้โซเดียมในการยึดอายุการใช้งาน ทำให้มีรสเค็ม เมื่อคุณแม่ตั้งครรภ์รับประทานเข้าไปก็จะทำให้เกิดปริมาณโซเดียมในร่างกายสูงได้ xoslot 2.อาหารกระป๋อง อาหารกระป๋องก็เป็นแหล่งของปริมาณโซเดียมที่สูงมาก และในการบรรจุกระป๋องก็อาจมีการปนเปื้อนของสารเคมี หรือสารอันตรายต่างๆ ที่อาจส่งผลต่อพัฒนาการของลูกน้อยในครรภ์ ตัวอย่างอาหารกระป๋อง เช่น น้ำผลไม้กระป๋อง ผลไม้กระป๋อง และกลุ่มอาหารที่บรรจุในกระป๋องทุกชนิด 3.ขนมกรุบกรอบ ขนมกรุบกรอบต่างๆ…
เมื่อพูดถึงการให้นมลูก ก็มีหลายความเชื่อและการบอกเล่าต่อกันมาจนอาจทำให้คุณแม่หลายท่านเกิดความสับสนได้ ว่าความเชื่อนั้นถูกต้องหรือไม่ วันนี้เราจึงนำความรู้ดีๆ มาฝากคุณแม่มือใหม่ เพื่อแก้ไขความเชื่อผิดๆ ในการให้นมลูกกันค่ะ slotxo 1.ใส่ใจให้นมลูกน้อยจนลืมดูแลสุขภาพตัวเองคุณแม่ส่วนมากมักเกิดปัญหาการไม่ดูแลสุขภาพตัวเอง เพราะคิดว่าการให้นมลูกเป็นสิ่งที่เร่งด่วนและสำคัญที่สุดซึ่งต้องทำเป็นอันดับแรก แต่ลืมคำนึงไปว่า น้ำนมล้วนประกอบด้วยสารอาหารจากร่างกายของคุณแม่ หากคุณแม่สุขภาพไม่ดี น้ำนมก็จะไม่มีสารอาหารครบถ้วน ดังนั้น คุณแม่ต้องใส่ใจสุขภาพ ทานอาหารและพักผ่อนให้เพียงพอ และควรทานอาหารเสริม ไม่ว่าจะเป็นวิตามิน แร่ธาตุ แคลเซียม สังกะสี เพื่อให้ร่างกายสมบูรณ์แข็งแรง และผลิตน้ำนมที่มีคุณภาพให้กับลูกน้อยได้ xoslot 2.ลูกหลับตอนให้นมแสดงว่าลูกอิ่มแล้วคุณแม่หลายคนแอบดีใจลึกๆ เวลาให้นมแล้วลูกหลับไป เข้าใจว่าลูกทานอิ่มจนหลับ แต่ในความเป็นจริงแล้ว ลูกน้อยสามารถหลับในอ้อมอกของแม่ได้โดยไม่อิ่ม เพราะสบาย มีความรู้สึกอบอุ่น ปลอดภัย ฉะนั้นควรหมั่นสังเกตลูก และอาจเปลี่ยนเต้าให้ดูดสลับข้างหรือให้พักการดูดนมเป็นระยะ เพื่อกระตุ้นให้ลูกไม่เผลอหลับ ทานได้อิ่มเต็มที่ เพื่อการเติบโตและพัฒนาการของลูกน้อยนั่นเอง เครดิตฟรี 3.ฟังคำตัดสินการให้นมลูกจากคนอื่นการให้นมลูกไม่มีกฎตายตัว…